Archive

Posts Tagged ‘Frost Sullivan’

Frost & Sullivan: Network Expansion Enable Operators to Stay Afloat in the Intensely Competitive Broadband Services Market

May 10th, 2011 No comments

Significant investments in network coverage and infrastructure, high-speed connectivity, and reduced prices for the most popular broadband services will keep market competitive and thereby, innovative. Harnessing the potential of converged services will give the $9.16 billion broadband services market in Latin America a huge push into the next level and guarantee return on investment (ROI).

New analysis from Frost & Sullivan (http://www.ipcommunications.frost.com), Latin American Broadband Services Markets 2010, finds that the market earned revenues of $7.7 billion in 2009 and estimates this to reach $19.3 billion in 2015, mainly driven by the expansion in network coverage and the increase in competition.

Following considerable price reductions, Mexico emerged as a country with one of the lowest broadband prices in the world. Consequently, it had the largest percentage rise in household penetration in the region – from 21.8 percent in 2008 to 28.0 percent in 2009. This competitive environment will set the stage for strong sales promotions and bundled offerings, which, in turn, will increase the uptake of broadband service.

The majority of the broadband accesses in Latin America, such as asymmetric digital subscriber line (ADSL) connections and telcos, are constantly deploying networks to amplify coverage and increase service quality.

“Fiber networks and government subsidies to stimulate broadband penetration in low-income segments will attract more participants to the market,” says Frost & Sullivan Industry Manager José Roberto Mavignier. “As broadband services markets in Latin America are expected to grow faster than other telecom services such as fixed and mobile telephony, operators are channeling investments toward network expansion and new technologies, opening a new stage in the competition.”

However, due to the poor PC penetration among the low-income groups and the challenges in demonstrating an ROI from broadband infrastructure, service providers are heavily dependent on the government to stimulate the adoption of Internet-enabled equipment such as PCs and notebooks. They will be seeking lower taxes for broadband services and subsidies to build network infrastructure and extend broadband coverage to remote locations.

“Investments in network capacity and new technologies enable broadband operators to offset the lack of government incentives to some extent, and provide novel and converged services that help to retain high-income clients,” notes Mavignier.

Nevertheless, investments in fiber networks and a broader range of plans are fostering an environment where participants are hard pressed to generate substantial revenues and introduce services. In such a scenario, market consolidations to enable the provision of integrated services are becoming the order of the day. A case in point is the merger of America Movil’s regional operations with its fixed unit Telmex, as well as Telefonica with its mobile operation, Movistar.

View :1374

ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน คาดยอดขายสมาร์ทการ์ดเพิ่มขึ้นกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ต่อปี ในอีกสองปีข้างหน้า

September 6th, 2010 No comments

รูเบน ฟูง นักวิเคราะห์จาก ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน องค์กรที่ปรึกษาทางธุรกิจและวิจัยระดับโลกคาดการณ์ว่ายอดขายสมาร์ทการ์ดจะเพิ่มถึงจุดสูงสุดจากปี 2555 ถึง 2559 ด้วยอัตราการเจริญเติบโต 20 และ 25 เปอร์เซ็นต์ในแต่ละรอบปี โดยมียอดเติบโตเฉลี่ย CAGR (compound annual growth rate) ที่ 16.4 เปอร์เซ็นต์ (2552-2559) และเมื่อสิ้นปี 2559 บัตรสมาร์ทการ์ดจะมียอดถึง 1.9 พันล้านชิ้น ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค โดยเพิ่มจาก 590 ล้านชิ้นในปี 2552

บทวิเคราะห์ล่าสุดจาก ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน (http://www.smartcards.frost.com), Asia-Pacific Smart Card Integrated Circuit on Different Form Factors ประเมินยอดขายสมาร์ทการ์ดสูงถึง 2 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ภายในปี 2559 ที่ยอดเติบโตเฉลี่ย (CAGR) 13 เปอร์เซ็นต ์ (2552-2559) มีมูลค่ารวม 775 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2552 เทียบกับมูลค่าตลาดรวม (แบบสัมผัสและไร้สัมผัส) 1.94 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ นอกจากนี้ มร. ฟูงคาดว่ายอดจัดส่งจะเพิ่มสูงขึ้นถึงกึ่งหนึ่งภายในปี 2559 โดย มร.ฟูงอธิบายว่า ความต้องการของสมาร์ทการ์ดนั้น ได้สืบเนื่องมาจากการใช้งานในรูปแบบต่างๆ อาทิ เทคโนโลยีสื่อสารแบบไร้สาย NFC (Near Field Communication), พาสปอร์ตอิเล็คโทรนิกส์ (e-Passport) และโครงการขนส่งมวลส่งขนาดใหญ่ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและภูมิภาคอื่นๆ ทั่วโลก

ฟูงกล่าวว่า “ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค เราสามารถคาดการณ์การดำเนินโครงการ NFC ขนาดใหญ่บนมือถือภายในสองปีนี้ สำหรับประเทศไทยนับได้ว่ามีศักยภาพในการดำเนินธุรกิจนี้สูงมาก โดยมีโครงการทดลอง NFC เกิดขึ้นแล้วในปี 2551และ 2552”

เขากล่าวเสริมว่า เทคโนโลยีสื่อสารแบบไร้สายNFC บนมือถือจะมีส่วนกระตุ้นให้เกิดความสนใจต่อการใช้บัตรเครดิตและบัตรเดบิตแบบไร้สัมผัสถหากมาตราการรักษาความปลอดภัยจากการโจรกรรมต่างๆมีประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น

นอกจากนี้ การใช้ของสมาร์ดการ์ดในรูปแบบของอีพาสปอร์ตยังได้รับการยอมรับไปทั่วโลกโดยการสนับสนุนจากองค์กรการบินพลเรือนสากล (International Civil Aviation Organization- ICAO) จากสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป และกว่า 80 ประเทศ ฟูงคาดว่าความต้องการสมาร์ทการ์ดสำหรับการใช้งานอีพาสปอร์ตและบัตรประชาชนจะเพิ่มมากขึ้นในเอเชีย

“บัตรประชาชนนั้นเป็นตลาดที่ใหญ่ทีสุดสำหรับสมาร์ทการ์ด (66 เปอร์เซ็นต์ของยอดจัดส่งในปี 2552) และจะยังเป็นต่อไปอีกห้าปีข้างหน้า เพราะว่าหลายประเทศต้องการเปลี่ยนจากบัตรประชาชนแบบเดิมมาเป็นแบบสมาร์ทการ์ดมากขึ้น นอกจากนี้อีพาสปอร์ตนั้นก็ต้องทำใหม่ทุกๆ ห้าถึงสิบปีเช่นกัน”

ประเทศในแถบเอเชีย อาทิ อินเดีย จีน ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และเวียดนามต่างวางแผนที่จะเริ่มใช้งานอีพาสปอร์ตภายในห้าปีนี้ และจะเริ่มต้นการใช้งานสมาร์ทการ์ดในโครงการขนส่งมวลชนต่างๆในรูปแบบของบัตรโดยสารสาธารณะก่อน แล้วจึงขยายไปสู่รูปแบบอื่นๆ ตามลำดับ

สำหรับประเทศไทย ซึ่งได้เริ่มมีการใช้งานอีพาสปอร์ตไปแล้วตั้งแต่ปี 2548 นั้น มร.ฟูงกล่าวว่า การใช้งานสมาร์ทการ์ดของประเทศไทยไม่ต่างจากประเทศอื่นๆในแถบเอเชียนัก กล่าวคือ มีการใช้งานของสมาร์ทการ์ดในโครงการขนส่งมวลชน ทั้ง MRT และ BTS และในอีกประมาณ 2-4 ปีข้างหน้า คาดว่าประชาชนจะสามารถใช้บริการขนส่งมวลชนทั้งสองอย่างได้ด้วยสมาร์ทการ์ดเพียงใบเดียว นอกจากนี้ ปริมาณการใช้อีพาสปอร์ตของประเทศไทยยังเพิ่มสูงขึ้น คิดเป็น ประมาณ 1.3 ล้านใบ ต่อปี

โดยการใช้งานเทคโนโลยีของสมาร์ทการ์ดในระยะแรกเริ่มนั้นจะมาจากโครงการขนส่งมวลชนต่างๆ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้ในรูปแบบใหม่ที่อำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้มากยิ่งขี้น สำหรับการใช้สมาร์ทการ์ทในรูปแบบต่างๆนั้น การใช้ในรูปแบบของบัตรโดยสารสาธารณะมีมากเป็นอันดับสองรองจากบัตรประชาชน โดยคิดเป็น 28 เปอร์เซ็นต์ของยอดจัดส่งในปี 2552

ฟูงเชื่อมั่นว่าแนวโน้มของสมาร์ทการ์ดจะยังคงสูงขึ้นจากโครงการขนส่งมวลชนต่างๆ ทั่วภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค
นอกจากนี้ สมาร์ทการ์ดยังมีการใช้งานในรูปทรงอื่นๆอีก เช่น อุปกรณ์ USB ต่างๆ ทั้งแบบสัมผัส อาทิ โทเคน (Token) และแบบสายคาดข้อมือและนาฬิกาแบบต่างๆ และถึงแม้ว่ารูปทรงเหล่านี้จะได้ถูกใช้งานมาระยะหนึ่ง แต่ก็ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางเท่าที่ควร

มร.ฟูงสรุปในตอนท้ายว่า “สมาร์ทการ์ดก็เหมือนกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่อาจต้องใช้เวลาและความพยายามในการหาจุดลงตัวในการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ และความสะดวกสบายที่ได้รับต้องคุ้มค่าเมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายต่างๆ”

View :1324